วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งอื่นๆ

คำสั่งอื่นๆ
1. at นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง
2. cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3. bc คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน
4.basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5. last เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที
6. crontab มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ
7. dd ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย
8. du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ
9. dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10. ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
11. env แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12. eject คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13. exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14. free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k
15.groups
16. hostname คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่ตัวอย่าง hostname
17. lp
18. mount คำสั่ง mount ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRom แบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
19. mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
20.nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21. nohup
22. netstat จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร
23. od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24. pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML
25. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
26. printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
28. printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29. pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quotaคือ จำนวนไฟล์ที่ที่ระบบจะเริ่มเตือนในช่อง timeleft
31. rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)

คำสั่เกี่ยวกับการติดต่อสื่สาร

คำสั่งเกี่ยวการติดต่อสื่อสาร
1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2. ftp คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter] Login:anonymous , Password: Username@YourDomain.com คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก
3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4. mesg mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminalmesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6. write คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้นรูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้น

ตัวอย่าง write m2k

คำสั่งสำรองข้อมูล

คำสั่งสำรองข้อมูล
1.คำสั่ง tarทำหน้าที่ขยายไฟล์แอพพลิเคชั่นและชุดแพคเกจ
รูปแบบการใช้งาน tar <พารามิเตอร์> <ไฟล์>
ตัวอย่าง tar -xvf test.tar
จัดเก็บไฟล์ให้รวมกันไว้ที่เดียว
2.คำสั่ง gzipทำหน้าที่บีบอัดไฟล์
รูปแบบการใช้งานgzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>
ตัวอย่างการใช้gzip star.txt star.zip filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3.คำสั่งgunzip คือขยายไฟล์ที่บีบไว้
รูปแบบการใช้งานgunzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>
ตัวอย่างการใช้งานgunzip star.zip

คำสั่งเกี่ยวการจัดการโปรเซส

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส
1. ps แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบ ติดตามได้ว่ามีโปรแกรมอะไรที่ไม่ถูกต้อง run อยู่ หรือโปรแกรมอะไร
2. kill คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process)รูปแบบการใช้งาน kill [option] (process ID)ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
3. fg เป็นทางที่สามในการส่ง Signals ให้แก่ process โดยการใช้ kill system call ซึ่งเป็นวิธีในการส่ง signal จาก 1 process ไปยังที่อื่น ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้ง “kill command” หรือ “fg command” ก็ได้ โดยต้องมีการ include signal.h ด้วย จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้เช่น kill เป็นต้น ซึ่ง process จะหยุดการทำงานของตัวเองโดย การส่ง PID ตัวเองไปให้ฟังก์ชัน ใน signal.h จัดการ ดังตัวอย่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน kill ในโปรแกรม
4. bg
5. jobs คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobs

คำสั่งเกียวกับการจัดการไฟล์

คำสั่ง เกี่ยวกับการจัดการไฟล์
1. ls : ใช้แสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมดใน home direct
2. cd : เป็นคำสั่งที่ใช้เปลี่ยนไปยังไดเรคทอรีย่อยของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ต้องการ
3. file :
4. pwd : แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
5. Mv : ใช้ในการย้ายที่อยู่ (Move) หรือเปลี่ยนชื่อ (Rename) ไฟล์หรือ ไดเรคเทอรี. รูปแบบการใช้งาน
6. MKdir : คำสั่งนี้เป็นคำสั่งในการสร้าง directory ขึ้นมา7. Rm : เป็นคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูล file ข้อมูล เกิดได้หลายกรณี เช่น เกิดจากการ ftp ขึ้นมาวางไว้
8. Rmdir : เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่ รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบ
9. Chown : ใช้สำหรับเปลี่ยนเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory. โครงสร้างคำสั่ง. chown [ option]... owner[:group] file หรือ. chown [option]... :group file
10. Cgrp : ใช้สำหรับเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory โครงสร้างคำสั่ง

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่ง

คำสั่ง
Man :เปรียบเสมืนคำสั่ง holp ใน Dos ใช้สำหรับดูวิธีการในงานคำสั่งต่าง ๆ
Alias :ใช้ย่อคำสั่งไฟล์สั้นลง
Cal :ใช้แสดง ปฏิทินระบบ
Cledr :มีค่าเหมืนคำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง
Cmp :เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์
Cat :แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ dos
Cut :ใช้ตัดไฟล์ 2 ไฟล์
Date :ใช้กำหนดหรือแสดงเวลาปัจจุบัน
Diff :ใช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์ ว่ามีความคล้ายหรือต่างกันอย่างไร
Echo :แสดงข้อความออกทาง Sell ผ่านคำสั่งใช้งานอยู่
Exit :ประมวลค่ามากสูตรคณิตศาสตร์
Expr :เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับค้นหาข้อมูล
Find :ใช้ในการค้นหาไฟล์หรือไดเรคเทอรี
Finger :ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน
Grep :ใช้ค้นหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์
Head :จะแสดงส่วนประมวลผลเป็นแฟ้มข้อมูล ตามจำนวนบรรทัดที่ต้องการ
More :คำสั่งที่ช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดยาวเป็นช่วง ๆ
Less :ใช้สำหรับดูข้อมูลในไฟล์ที่ละหน่วย
Passwd : เปลี่ยน passwovd คนที่ทำงานปัจจุบัน
Sort :ใช้เพื่อทำการจัดเรียงข้อมูลในแฟ้มตามลำดับ
Su :ขอเปลียนตนเองเป็น super user เพื่อใช้สิทธ์สูงสุดในการบริหารระบบ
Tail :แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ตรงกันข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม
Touch :สร้างไฟล์ที่ว่างเปล่า
W :โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง
Whoami :แสดงชื่อผู้ใช้เวลาเข้าใช้งานและหมายเลขเครื่อง
Who :โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง
Which :เปลี่ยนตัวเองเป็น root
Whereis :ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ห้องใด

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

VM Ware

VMWare คืออะไร?

โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่นในรูปที่ 2 เป็นรูปที่แสดงถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน
ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน

คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์

- CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz
- หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB
- การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต
- พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows
- พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ
สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากร

[PDF]
อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

[PPT]
UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

Unix-doc <>
UNIX อนุญาตให้ผู้ใช้ รู้การทำงานของซีพียูว่ามีงานอะไรวิ่งอยู่ งานเหล่านี้ถูก เรียกว่า โปรเซส (process) นี่เป็นข้อดีที่UNIX มีเหนือวินโดส์ 95 และ ...wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc - 26k -
หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

Untitled Document
ที่ UNIX prompt ($) ใช้คำสั่ง kermit ทำการโอนแฟ้มข้อมูล (text.doc) จาก disk ที่ IBM/PC มา เก็บที่ home directory ของเราบน Internet ...mail.hu.ac.th/~s3051027/joy31.htm - 7k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ UNIX

1 ความเป็นมาของ UNIX
ตอบ =ในทศวรรษที่ 60 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) , AT&T Bell Labs และบริษัท General Electric ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า Multics (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่องเมนเฟรมรุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการนี้
Ken Thompson ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมพัฒนาในขณะนั้น ได้เขียนเกมบนเครื่อง GE-645 ชื่อว่าเกม Space Travel และพบปัญหาว่าเกมทำงานได้ช้ากว่าที่ควร เขาจึงย้ายมาเขียนเกมใหม่บนเครื่อง
PDP-7 ของบริษัท DEC แทนด้วยภาษาแอสเซมบลี โดยความช่วยเหลือของ Dennis Ritchie ประสบการณ์เหล่านี้ทำให้ Thompson หันมาพัฒนาระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PDP-7
ระบบปฏิบัติการนี้มีชื่อว่า UNICS ย่อมาจาก Uniplexed Information and Computing System เนื่องจากว่าการออกเสียงสามารถสะกดได้หลายแบบ และพบปัญหาชื่อใกล้เคียงกับ Multics ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น Unix
การพัฒนายูนิกซ์ในช่วงนี้ยังไม่ได้รับความสนับสนุนด้านการเงินจาก Bell Labs เมื่อระบบพัฒนามากขึ้น Thompson และ Ritchie จึงสัญญาว่าจะเพิ่มความสในงานประมวลผลข้อมูลส่วนมาก ไฟล์ที่เก็บข้อมูลจะถูกแบ่งแยกประเภทตางานที่ใช้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 ประเภทคือ งานรายการเปลี่ยนแปลง (transaction), งานรายการหลัก (master), งานรายงาน (report) , งานผลลัพธ์ (output) , และงานสำรองข้อมูล (backup) โดยที่งานรายการหลักและงานรายการการเปลี่ยนแปลงจะพบมากในงานด้านฐานข้อมูลและงานบัญชีต่าง ๆ ส่วนงานประเภทอื่น ๆ จะพบได้ในงานทั่ว ๆ ไป ไฟล์ที่ใช้ในงานประเภทต่าง ๆ จะมีดังนี้ ไฟล์รายการหลัก (Master file) เก็บข้อมูลที่ต้องใช้สำหรับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เช่น ไฟล์รายการหลักสำหรับเก็บข้อมูลลูกค้าของธนาคาร มีข้อมูลของลูกค้าคือ เลขที่บัญชี ชื่อ ที่อยู่ ยอดเงินคงเหลือ ซึ่งจะถูกแก้ไขเมื่อมีรายการฝากถอนเงินจากลูกค้า โดยการแก้ไขไฟล์อาจทำโดยตรงหรือแก้ไขโดยใช้ข้อมูลจากไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง(transaction file) ไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) เป็นไฟล์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาจเก็บข้อมูลรายการขายประจำวัน ไฟล์รายการฝาก - ถอนเงิน เป็นต้น การประมวลผลที่เกิดขึ้นกับไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง โดยปกติแล้วสามารถเกิดได้ 2 วิธี คือ 1. ประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)โดยใช้ข้อมูลในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง สำหรับประมวลผลร่วมกับไฟล์รายการหลักเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเก็บข้อมูลเพื่อทำการปรับ (update) ข้อมูลในไฟล์รายการหลักให้ถูกต้องตามรายการที่เกิดขึ้น 2. ประมวลผลแบบทันที (Real - time Processing) เป็นการแก้ไขไฟล์รายการหลักทันทีที่เกิดรายการใด ๆ และเก็บรายการที่เกิดขึ้นลงในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลงเพื่อไว้ใช้อ้างอิงและตรวจสอบในภายหลัง ามารถในการประมวลผลคำ (Word Processing) บนเครื่อง
PDP-11/20 และเริ่มได้รับการตอบรับจาก Bell Labs ในปี
ค.ศ. 1970 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการเรียกชื่ออย่างเป็นทางการ โปรแกรมประมวลผลคำมีชื่อว่า roff และหนังสือ UNIX Programmer's Manual ตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1971ค.ศ. 1973 ได้เขียนยูนิกซ์ขึ้นมาใหม่ด้วยภาษาซี ทำให้สะดวกต่อการนำยูนิกซ์ไปทำงานบนเครื่องชนิดอื่นมากขึ้น ทาง AT&T ได้เผยแพร่ยูนิกซ์ไปยังมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสัญญาการใช้งานเปิดเผยซอร์สโค้ด ยกเว้นเคอร์เนลส่วนที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี
ยูนิกซ์เวอร์ชัน 4,5 และ 6 ออกในค.ศ. 1975 ได้เพิ่มคุณสมบัติ pipe เข้ามา ยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 ซึ่งเป็นเวอร์ชันสุดท้ายที่พัฒนาแบบการวิจัย ออกในค.ศ. 1979 ยูนิกซ์เวอร์ชัน 8,9 และ 10 ออกมาในภายหลังในทศวรรษที่ 80 ในวงจำกัดเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่งเท่านั้น และเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ Plan 9ค.ศ. 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูกของ AT&T ชื่อว่า Western Electric ยังคงนำยูนิกซ์รุ่นเก่ามาขายอยู่เช่นกัน เพื่อยุติความสับสนทางด้านชื่อ AT&T จึงรวมการพัฒนาทั้งหมดจากบริษัทและมหาวิทยาลัยต่างๆใน Unix System V ซึ่งมีโปรแกรมอย่าง vi ที่พัฒนาโดย Berkeley Software Distribution (BSD) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ รวมอยู่ด้วย ยูนิกซ์รุ่นนี้สามารถทำงานได้บนเครื่อง VAX ของบริษัท DEC
ยูนิกซ์รุ่นที่เป็นการค้าไม่เปิดเผยซอร์สโค้ดอีกต่อไป ทางมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จึงพัฒนายูนิกซ์ของตัวเองต่อเพื่อเป็นทางเลือกกับ System V การพัฒนาที่สำคัญที่สุดคือเพิ่มการสนับสนุนโพรโทคอลสำหรับเครือข่าย
TCP/IP เข้ามาบริษัทอื่นๆ เริ่มพัฒนายูนิกซ์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของตนเอง โดยส่วนมากใช้ยูนิกซ์ที่ซื้อสัญญามาจาก System V แต่บางบริษัทเลือกพัฒนาจาก BSD แทน หนึ่งในทีมพัฒนาของ BSD คือ Bill Joy มีส่วนในการสร้าง SunOS (ปัจจุบันคือ โซลาริส) ของบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ค.ศ. 1981 ทีมพัฒนา BSD ได้ออกจากมหาวิทยาลัยและก่อตั้งบริษัท Berkeley Software Design, Inc (BSDI) เป็นบริษัทแรกที่นำ BSD มาขายในเชิงการค้า ในภายหลังเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ FreeBSD, OpenBSD และ NetBSD
AT&T ยังคงพัฒนาความสามารถต่างๆ เข้าสู่ยูนิกซ์ System V และรวมเอา Xenix (ยูนิกซ์ของบริษัทไมโครซอฟท์) , BSD และ SunOS เข้ามารวมใน System V Release 4 (SVR4) เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวสำหรับลูกค้า ซึ่งเพิ่มราคาขึ้นอีกมากหลังจากนั้นไม่นาน AT&T ขายสิทธิ์ในการถือครองยูนิกซ์ให้กับบริษัทโนเวลล์ และโนเวลเองได้สร้างยูนิกซ์ของตัวเองที่ชื่อ UnixWare ซึ่งพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการ NetWare เพื่อแข่งกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นทีของไมโครซอฟท์
ค.ศ. 1995 โนเวลขายส่วนต่างๆ ของยูนิกซ์ให้กับบริษัท Santa Cruz Operation (SCO) โดยโนเวลยังถือลิขสิทธิ์ของยูนิกซ์ไว้ ค.ศ. 2000 SCO ขายสิทธิ์ส่วนของตนเองให้กับบริษัท Caldera ซึ่งเปลี่ยนชื่อภายหลังเป็น SCO Group ซึ่งเป็นสาเหตุในการดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์กับลินุกซ์

2 คุณสมบัติของ UNIX
ตอบ = คุณสมบัติของระบบUNIXSoftwere tool- โปรแกรมบนUNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆและสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆโปรแกรมได้portability- เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบนUNIXจะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกันflexibility- UNIX จะมีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้งานกับงานเล็กๆหรืองานใหญ่ๆก็ได้power- สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆมากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆmulti – user & multitasking- สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆอย่างพร้อมกันElegance- หลักการทำงานของส่วนต่างๆจะเหมือนกันดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆได้ง่ายnetwork orientation- UNIXเป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่ายโดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet

3โครงสร้างของ UNLX
ตอบ= มี 4โครงสร้าง
1.ฮาร์ดแวร์ ทุกคนก็คงรู้จักกันแล้วว่ามันคือ อุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้นั่นเอง
2.ยูนิกซ์ เคอเนล จะทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการกับข้อมูลต่างๆ ซึ่งส่วนประกอบตัวนี้จะขึ้นอยู่กับฮาร์แวร์ หากมีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอเนลก็จะเปลี่ยนแปลงด้วยค่ะ
3.เซลล์ เป็นตัวกลางระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ คือ นำคำสั่งจากผู้ใช้ไปแปลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ เรียกว่า command interpreter เซลล์ที่ใช้งานกันก็มีหลายแบบ แต่ที่เป็นที่นิยม ได้แก่
-->Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุกเซลล์
-->C shell (csh) พัฒนาหลังจาก Bourne shell แต่สามารถเก็บข้อมูลคำสั่งที่เคยใช้ได้
-->Korn shell (ksh) เป็นเซลล์ที่นำคุณสมบัติเด่นของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
-->Bourne again shell (bash) มีลักษณะคล้าย Korn shell และสร้างขึ้นมาให้มีการใช้ฟรี ซึ่งระบบปฏิบัติการ Linux ก็นำมาใช้ด้วยเช่นกัน
4.โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมที่ใช้งานเพิ่มเติม


4 Shell คืออะไร
ตอบ =Shell โดยปกติผู้ใช้จะไม่สามารถติดต่อหรือใช้ Unix Kernel โดยตรง แต่จะมี software ที่เป็นตัวตีความหมายคำสั่งของผู้ใช้ให้กับ Unix Kernael อีกทีหนึ่ง ดังภาพ
Software ที่ทำหน้าที่นี้เรียกโดยทั่วไปว่า "Shell" เช่นกันก็จะมีผู้ผลิต Shell ขึ้มาอย่างมากมาย แต่ที่นิยมใช้งานมากที่สุดคือ "Bourne Shell" ซึ่งถูกเรียกตามผู้คิด คนแรกก็คือ Steven Bourne จะสามารถสังเกตได้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน Bourne Shell จะมี "พร้อม" (prompt) เป็น $ "C shell" เป็น shell ที่นิยมใช้กันมากเช่นกัน โดยผู้เขียนคนแรก ก็คือ Bill Joy (เป็นคนเขียน vi บนยูนิกซ์ด้วยเช่นกัน) ปัจจุบัน Bill Joy ทำงาน ให้กับบริษัท Sun Microsystems (เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทคนหนึ่งด้วย) "C shell" จะมีเครื่องหมาย prompt เป็น % และยังมี "Korn shell" มี prompt เป็น $ Korn shell เป็นการนำเอาข้อดีของ Bourne และ C shell มารวมกัน ถ้าจะเข้าสู่ C shell ให้พิมพ์ csh ถ้าจะเข้าสู่ Korn shell ให้พิมพ์ ksh ส่วนใหญ่เมื่อผู้ใช้ login ระบบเข้ามามักจะเป็น Bourne


5 ระบบไฟล์และไดเรกเทอรี่
ตอบ =ในงานประมวลผลข้อมูลส่วนมาก ไฟล์ที่เก็บข้อมูลจะถูกแบ่งแยกประเภทตางานที่ใช้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 ประเภทคือ งานรายการเปลี่ยนแปลง (transaction), งานรายการหลัก (master), งานรายงาน (report) , งานผลลัพธ์ (output) , และงานสำรองข้อมูล (backup) โดยที่งานรายการหลักและงานรายการการเปลี่ยนแปลงจะพบมากในงานด้านฐานข้อมูลและงานบัญชีต่าง ๆ ส่วนงานประเภทอื่น ๆ จะพบได้ในงานทั่ว ๆ ไป ไฟล์ที่ใช้ในงานประเภทต่าง ๆ จะมีดังนี้ ไฟล์รายการหลัก (Master file) เก็บข้อมูลที่ต้องใช้สำหรับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เช่น ไฟล์รายการหลักสำหรับเก็บข้อมูลลูกค้าของธนาคาร มีข้อมูลของลูกค้าคือ เลขที่บัญชี ชื่อ ที่อยู่ ยอดเงินคงเหลือ ซึ่งจะถูกแก้ไขเมื่อมีรายการฝากถอนเงินจากลูกค้า โดยการแก้ไขไฟล์อาจทำโดยตรงหรือแก้ไขโดยใช้ข้อมูลจากไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง(transaction file) ไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) เป็นไฟล์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาจเก็บข้อมูลรายการขายประจำวัน ไฟล์รายการฝาก - ถอนเงิน เป็นต้น การประมวลผลที่เกิดขึ้นกับไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง โดยปกติแล้วสามารถเกิดได้ 2 วิธี คือ
1. ประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)โดยใช้ข้อมูลในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง สำหรับประมวลผลร่วมกับไฟล์รายการหลักเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเก็บข้อมูลเพื่อทำการปรับ (update) ข้อมูลในไฟล์รายการหลักให้ถูกต้องตามรายการที่เกิดขึ้น
2. ประมวลผลแบบทันที (Real - time Processing) เป็นการแก้ไขไฟล์รายการหลักทันทีที่เกิดรายการใด ๆ และเก็บรายการที่เกิดขึ้นลงในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลงเพื่อไว้ใช้อ้างอิงและตรวจสอบในภายหลัง

วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำอธิบายราชวิชา

คำอธิบายรายวิชา และ E-Learningคำอธิบายรายวิชาระบบปฎิบัติการ 2 (4121402)ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC) แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์E-Learninghttp://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.htmlhttp://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.pptแหล่งที่มา มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์http://www.thaiabc.com/os/indexo.htmlแหล่งที่มา เว็บ thaiabchttp://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2แหล่งที่มา เว็บบล็อก 212cafehttp://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรีhttp://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.docแหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files/Newบทที่5.1.docแหล่งที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattamahttp://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htmแหล่งที่มา เว็บไซต์ CIMShttp://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.htmlแหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com

แนะนำตัว


ชื่อนางสาวสมัย เพชรใส (5012252133)

ที่อยู่ 119/2ต.ตองปิด อ. นำเกลี้ยง จ.ศรีสะเกษ (33130)

โทร (0804582406) ชื่อเล่น เบียร์ฮะ


เพื่อนสนิท

นางสาววิภาวดี โกกพะพันธ์ (5012252231)

ที่อยู่ 156 หมู่ 4 ต. ขะยูงอ. อุทมพรพิสัน จังหวัดศรีสะเกษ 33120

โทร 0852082119 ชื่นเล่น วิ


นายทวีศักดิ์ พูลแก้ว (5012252204)

ที่ 58 หมู่ 3 ต.พยุห์ อ.พหุย์ จังหวัดศีรสะเกษ 33230

โทร 0873761264