วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากร

[PDF]
อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติ
รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

[PPT]
UNIX
รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

Unix-doc <>
UNIX อนุญาตให้ผู้ใช้ รู้การทำงานของซีพียูว่ามีงานอะไรวิ่งอยู่ งานเหล่านี้ถูก เรียกว่า โปรเซส (process) นี่เป็นข้อดีที่UNIX มีเหนือวินโดส์ 95 และ ...wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc - 26k -
หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

Untitled Document
ที่ UNIX prompt ($) ใช้คำสั่ง kermit ทำการโอนแฟ้มข้อมูล (text.doc) จาก disk ที่ IBM/PC มา เก็บที่ home directory ของเราบน Internet ...mail.hu.ac.th/~s3051027/joy31.htm - 7k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ UNIX

1 ความเป็นมาของ UNIX
ตอบ =ในทศวรรษที่ 60 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) , AT&T Bell Labs และบริษัท General Electric ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า Multics (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่องเมนเฟรมรุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการนี้
Ken Thompson ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมพัฒนาในขณะนั้น ได้เขียนเกมบนเครื่อง GE-645 ชื่อว่าเกม Space Travel และพบปัญหาว่าเกมทำงานได้ช้ากว่าที่ควร เขาจึงย้ายมาเขียนเกมใหม่บนเครื่อง
PDP-7 ของบริษัท DEC แทนด้วยภาษาแอสเซมบลี โดยความช่วยเหลือของ Dennis Ritchie ประสบการณ์เหล่านี้ทำให้ Thompson หันมาพัฒนาระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PDP-7
ระบบปฏิบัติการนี้มีชื่อว่า UNICS ย่อมาจาก Uniplexed Information and Computing System เนื่องจากว่าการออกเสียงสามารถสะกดได้หลายแบบ และพบปัญหาชื่อใกล้เคียงกับ Multics ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น Unix
การพัฒนายูนิกซ์ในช่วงนี้ยังไม่ได้รับความสนับสนุนด้านการเงินจาก Bell Labs เมื่อระบบพัฒนามากขึ้น Thompson และ Ritchie จึงสัญญาว่าจะเพิ่มความสในงานประมวลผลข้อมูลส่วนมาก ไฟล์ที่เก็บข้อมูลจะถูกแบ่งแยกประเภทตางานที่ใช้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 ประเภทคือ งานรายการเปลี่ยนแปลง (transaction), งานรายการหลัก (master), งานรายงาน (report) , งานผลลัพธ์ (output) , และงานสำรองข้อมูล (backup) โดยที่งานรายการหลักและงานรายการการเปลี่ยนแปลงจะพบมากในงานด้านฐานข้อมูลและงานบัญชีต่าง ๆ ส่วนงานประเภทอื่น ๆ จะพบได้ในงานทั่ว ๆ ไป ไฟล์ที่ใช้ในงานประเภทต่าง ๆ จะมีดังนี้ ไฟล์รายการหลัก (Master file) เก็บข้อมูลที่ต้องใช้สำหรับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เช่น ไฟล์รายการหลักสำหรับเก็บข้อมูลลูกค้าของธนาคาร มีข้อมูลของลูกค้าคือ เลขที่บัญชี ชื่อ ที่อยู่ ยอดเงินคงเหลือ ซึ่งจะถูกแก้ไขเมื่อมีรายการฝากถอนเงินจากลูกค้า โดยการแก้ไขไฟล์อาจทำโดยตรงหรือแก้ไขโดยใช้ข้อมูลจากไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง(transaction file) ไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) เป็นไฟล์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาจเก็บข้อมูลรายการขายประจำวัน ไฟล์รายการฝาก - ถอนเงิน เป็นต้น การประมวลผลที่เกิดขึ้นกับไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง โดยปกติแล้วสามารถเกิดได้ 2 วิธี คือ 1. ประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)โดยใช้ข้อมูลในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง สำหรับประมวลผลร่วมกับไฟล์รายการหลักเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเก็บข้อมูลเพื่อทำการปรับ (update) ข้อมูลในไฟล์รายการหลักให้ถูกต้องตามรายการที่เกิดขึ้น 2. ประมวลผลแบบทันที (Real - time Processing) เป็นการแก้ไขไฟล์รายการหลักทันทีที่เกิดรายการใด ๆ และเก็บรายการที่เกิดขึ้นลงในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลงเพื่อไว้ใช้อ้างอิงและตรวจสอบในภายหลัง ามารถในการประมวลผลคำ (Word Processing) บนเครื่อง
PDP-11/20 และเริ่มได้รับการตอบรับจาก Bell Labs ในปี
ค.ศ. 1970 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการเรียกชื่ออย่างเป็นทางการ โปรแกรมประมวลผลคำมีชื่อว่า roff และหนังสือ UNIX Programmer's Manual ตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1971ค.ศ. 1973 ได้เขียนยูนิกซ์ขึ้นมาใหม่ด้วยภาษาซี ทำให้สะดวกต่อการนำยูนิกซ์ไปทำงานบนเครื่องชนิดอื่นมากขึ้น ทาง AT&T ได้เผยแพร่ยูนิกซ์ไปยังมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสัญญาการใช้งานเปิดเผยซอร์สโค้ด ยกเว้นเคอร์เนลส่วนที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี
ยูนิกซ์เวอร์ชัน 4,5 และ 6 ออกในค.ศ. 1975 ได้เพิ่มคุณสมบัติ pipe เข้ามา ยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 ซึ่งเป็นเวอร์ชันสุดท้ายที่พัฒนาแบบการวิจัย ออกในค.ศ. 1979 ยูนิกซ์เวอร์ชัน 8,9 และ 10 ออกมาในภายหลังในทศวรรษที่ 80 ในวงจำกัดเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่งเท่านั้น และเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ Plan 9ค.ศ. 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูกของ AT&T ชื่อว่า Western Electric ยังคงนำยูนิกซ์รุ่นเก่ามาขายอยู่เช่นกัน เพื่อยุติความสับสนทางด้านชื่อ AT&T จึงรวมการพัฒนาทั้งหมดจากบริษัทและมหาวิทยาลัยต่างๆใน Unix System V ซึ่งมีโปรแกรมอย่าง vi ที่พัฒนาโดย Berkeley Software Distribution (BSD) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ รวมอยู่ด้วย ยูนิกซ์รุ่นนี้สามารถทำงานได้บนเครื่อง VAX ของบริษัท DEC
ยูนิกซ์รุ่นที่เป็นการค้าไม่เปิดเผยซอร์สโค้ดอีกต่อไป ทางมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จึงพัฒนายูนิกซ์ของตัวเองต่อเพื่อเป็นทางเลือกกับ System V การพัฒนาที่สำคัญที่สุดคือเพิ่มการสนับสนุนโพรโทคอลสำหรับเครือข่าย
TCP/IP เข้ามาบริษัทอื่นๆ เริ่มพัฒนายูนิกซ์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของตนเอง โดยส่วนมากใช้ยูนิกซ์ที่ซื้อสัญญามาจาก System V แต่บางบริษัทเลือกพัฒนาจาก BSD แทน หนึ่งในทีมพัฒนาของ BSD คือ Bill Joy มีส่วนในการสร้าง SunOS (ปัจจุบันคือ โซลาริส) ของบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ค.ศ. 1981 ทีมพัฒนา BSD ได้ออกจากมหาวิทยาลัยและก่อตั้งบริษัท Berkeley Software Design, Inc (BSDI) เป็นบริษัทแรกที่นำ BSD มาขายในเชิงการค้า ในภายหลังเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ FreeBSD, OpenBSD และ NetBSD
AT&T ยังคงพัฒนาความสามารถต่างๆ เข้าสู่ยูนิกซ์ System V และรวมเอา Xenix (ยูนิกซ์ของบริษัทไมโครซอฟท์) , BSD และ SunOS เข้ามารวมใน System V Release 4 (SVR4) เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวสำหรับลูกค้า ซึ่งเพิ่มราคาขึ้นอีกมากหลังจากนั้นไม่นาน AT&T ขายสิทธิ์ในการถือครองยูนิกซ์ให้กับบริษัทโนเวลล์ และโนเวลเองได้สร้างยูนิกซ์ของตัวเองที่ชื่อ UnixWare ซึ่งพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการ NetWare เพื่อแข่งกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นทีของไมโครซอฟท์
ค.ศ. 1995 โนเวลขายส่วนต่างๆ ของยูนิกซ์ให้กับบริษัท Santa Cruz Operation (SCO) โดยโนเวลยังถือลิขสิทธิ์ของยูนิกซ์ไว้ ค.ศ. 2000 SCO ขายสิทธิ์ส่วนของตนเองให้กับบริษัท Caldera ซึ่งเปลี่ยนชื่อภายหลังเป็น SCO Group ซึ่งเป็นสาเหตุในการดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์กับลินุกซ์

2 คุณสมบัติของ UNIX
ตอบ = คุณสมบัติของระบบUNIXSoftwere tool- โปรแกรมบนUNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆและสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆโปรแกรมได้portability- เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบนUNIXจะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกันflexibility- UNIX จะมีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้งานกับงานเล็กๆหรืองานใหญ่ๆก็ได้power- สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆมากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆmulti – user & multitasking- สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆอย่างพร้อมกันElegance- หลักการทำงานของส่วนต่างๆจะเหมือนกันดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆได้ง่ายnetwork orientation- UNIXเป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่ายโดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet

3โครงสร้างของ UNLX
ตอบ= มี 4โครงสร้าง
1.ฮาร์ดแวร์ ทุกคนก็คงรู้จักกันแล้วว่ามันคือ อุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้นั่นเอง
2.ยูนิกซ์ เคอเนล จะทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการกับข้อมูลต่างๆ ซึ่งส่วนประกอบตัวนี้จะขึ้นอยู่กับฮาร์แวร์ หากมีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอเนลก็จะเปลี่ยนแปลงด้วยค่ะ
3.เซลล์ เป็นตัวกลางระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ คือ นำคำสั่งจากผู้ใช้ไปแปลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ เรียกว่า command interpreter เซลล์ที่ใช้งานกันก็มีหลายแบบ แต่ที่เป็นที่นิยม ได้แก่
-->Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุกเซลล์
-->C shell (csh) พัฒนาหลังจาก Bourne shell แต่สามารถเก็บข้อมูลคำสั่งที่เคยใช้ได้
-->Korn shell (ksh) เป็นเซลล์ที่นำคุณสมบัติเด่นของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
-->Bourne again shell (bash) มีลักษณะคล้าย Korn shell และสร้างขึ้นมาให้มีการใช้ฟรี ซึ่งระบบปฏิบัติการ Linux ก็นำมาใช้ด้วยเช่นกัน
4.โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมที่ใช้งานเพิ่มเติม


4 Shell คืออะไร
ตอบ =Shell โดยปกติผู้ใช้จะไม่สามารถติดต่อหรือใช้ Unix Kernel โดยตรง แต่จะมี software ที่เป็นตัวตีความหมายคำสั่งของผู้ใช้ให้กับ Unix Kernael อีกทีหนึ่ง ดังภาพ
Software ที่ทำหน้าที่นี้เรียกโดยทั่วไปว่า "Shell" เช่นกันก็จะมีผู้ผลิต Shell ขึ้มาอย่างมากมาย แต่ที่นิยมใช้งานมากที่สุดคือ "Bourne Shell" ซึ่งถูกเรียกตามผู้คิด คนแรกก็คือ Steven Bourne จะสามารถสังเกตได้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน Bourne Shell จะมี "พร้อม" (prompt) เป็น $ "C shell" เป็น shell ที่นิยมใช้กันมากเช่นกัน โดยผู้เขียนคนแรก ก็คือ Bill Joy (เป็นคนเขียน vi บนยูนิกซ์ด้วยเช่นกัน) ปัจจุบัน Bill Joy ทำงาน ให้กับบริษัท Sun Microsystems (เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทคนหนึ่งด้วย) "C shell" จะมีเครื่องหมาย prompt เป็น % และยังมี "Korn shell" มี prompt เป็น $ Korn shell เป็นการนำเอาข้อดีของ Bourne และ C shell มารวมกัน ถ้าจะเข้าสู่ C shell ให้พิมพ์ csh ถ้าจะเข้าสู่ Korn shell ให้พิมพ์ ksh ส่วนใหญ่เมื่อผู้ใช้ login ระบบเข้ามามักจะเป็น Bourne


5 ระบบไฟล์และไดเรกเทอรี่
ตอบ =ในงานประมวลผลข้อมูลส่วนมาก ไฟล์ที่เก็บข้อมูลจะถูกแบ่งแยกประเภทตางานที่ใช้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 5 ประเภทคือ งานรายการเปลี่ยนแปลง (transaction), งานรายการหลัก (master), งานรายงาน (report) , งานผลลัพธ์ (output) , และงานสำรองข้อมูล (backup) โดยที่งานรายการหลักและงานรายการการเปลี่ยนแปลงจะพบมากในงานด้านฐานข้อมูลและงานบัญชีต่าง ๆ ส่วนงานประเภทอื่น ๆ จะพบได้ในงานทั่ว ๆ ไป ไฟล์ที่ใช้ในงานประเภทต่าง ๆ จะมีดังนี้ ไฟล์รายการหลัก (Master file) เก็บข้อมูลที่ต้องใช้สำหรับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เช่น ไฟล์รายการหลักสำหรับเก็บข้อมูลลูกค้าของธนาคาร มีข้อมูลของลูกค้าคือ เลขที่บัญชี ชื่อ ที่อยู่ ยอดเงินคงเหลือ ซึ่งจะถูกแก้ไขเมื่อมีรายการฝากถอนเงินจากลูกค้า โดยการแก้ไขไฟล์อาจทำโดยตรงหรือแก้ไขโดยใช้ข้อมูลจากไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง(transaction file) ไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง (transaction file) เป็นไฟล์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาจเก็บข้อมูลรายการขายประจำวัน ไฟล์รายการฝาก - ถอนเงิน เป็นต้น การประมวลผลที่เกิดขึ้นกับไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง โดยปกติแล้วสามารถเกิดได้ 2 วิธี คือ
1. ประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)โดยใช้ข้อมูลในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลง สำหรับประมวลผลร่วมกับไฟล์รายการหลักเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาในการเก็บข้อมูลเพื่อทำการปรับ (update) ข้อมูลในไฟล์รายการหลักให้ถูกต้องตามรายการที่เกิดขึ้น
2. ประมวลผลแบบทันที (Real - time Processing) เป็นการแก้ไขไฟล์รายการหลักทันทีที่เกิดรายการใด ๆ และเก็บรายการที่เกิดขึ้นลงในไฟล์รายการเปลี่ยนแปลงเพื่อไว้ใช้อ้างอิงและตรวจสอบในภายหลัง

วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำอธิบายราชวิชา

คำอธิบายรายวิชา และ E-Learningคำอธิบายรายวิชาระบบปฎิบัติการ 2 (4121402)ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC) แหล่งที่มา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์E-Learninghttp://cptd.chandra.ac.th/rawin/os2.htmlhttp://computer.rru.ac.th/ln1/courses/6/lecture01.pptแหล่งที่มา มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์http://www.thaiabc.com/os/indexo.htmlแหล่งที่มา เว็บ thaiabchttp://payamand.212cafe.com/archive/2008-06-17/os-2แหล่งที่มา เว็บบล็อก 212cafehttp://th.wikipedia.org/wiki/ยูนิกซ์แหล่งที่มา วิกิพีเดียสารานุกรมเสรีhttp://www.compsci.buu.ac.th/~krisana/310222/exercise/lab-01.docแหล่งที่มา มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์http://www.cs.psu.ac.th/intro_com/Files/Newบทที่5.1.docแหล่งที่มา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์http://learners.in.th/blog/bankeducation/160518แหล่งที่มา Blog Alongkorn Pattamahttp://nanotech.sc.mahidol.ac.th/c/unix/index.htmแหล่งที่มา เว็บไซต์ CIMShttp://banrong.blogspot.com/2008/02/4-unix.htmlแหล่งที่มา Blog banrong.blogspot.com

แนะนำตัว


ชื่อนางสาวสมัย เพชรใส (5012252133)

ที่อยู่ 119/2ต.ตองปิด อ. นำเกลี้ยง จ.ศรีสะเกษ (33130)

โทร (0804582406) ชื่อเล่น เบียร์ฮะ


เพื่อนสนิท

นางสาววิภาวดี โกกพะพันธ์ (5012252231)

ที่อยู่ 156 หมู่ 4 ต. ขะยูงอ. อุทมพรพิสัน จังหวัดศรีสะเกษ 33120

โทร 0852082119 ชื่นเล่น วิ


นายทวีศักดิ์ พูลแก้ว (5012252204)

ที่ 58 หมู่ 3 ต.พยุห์ อ.พหุย์ จังหวัดศีรสะเกษ 33230

โทร 0873761264